โมโลทอฟ คอคเทล ตั้งชื่อตาม Vyacheslav Molotov หรือ petrol bomb หรือเป็นที่รู้กันในนาม ระเบิดมือคนยาก (the poor man’s hand grenade) มังกรพิโรธ (dragon's wrath) ถูกใช้แพร่หลายโดยหน่วยกองโจร และกลุ่มผู้ก่อการจลาจล แต่จริงๆแล้ว ถูกใช้มากว่าในการวางเพลิง
A Molotov cocktail consists of a glass bottle partly filled with flammable liquid, typically gasoline. When gasoline is used as the main ingredient, motor oil or sugar is commonly added to help the gasoline cling to the target. A gasoline soaked rag is placed in the neck of the bottle, extending out of the neck. The bottle is then corked in order to hold the rag in place. The rag is then lit, and the bottle is thrown.
โมโลทอฟ คอคเทล ประกอบด้วย ขวดแก้วบรรจุเชื้อเพลิงเป็นส่วนใหญ่ โดยมีการเติมน้ำมันเครื่อง หรือน้ำตาล เพื่อช่วยให้เชื้อเพลิง ติดอยู่กับเป้าหมาย ชนวนชุ่มเชื้อเพลิงถูกอุดไว้ที่ปากขวด ใช้งานโดยการจุดชนวน แล้วขว้างใส่เป้าหมาย
http://www.mopo.ca/2007/03/molotov-cocktail.html
จากคลิปต่างๆ จะเห็นได้ว่าการใช้งานของ Molotov cocktail ของเสื้อแดง ผิดพลาดตรงที่ใช้ขวดที่แตกยาก เช่นขวด M ทั้งหลาย เมื่อตกกระทบพื้น ไม่แตกกระจายที่จุดตก แต่ลื่นไถลไป ไม่ระเบิดทันที นับเป็นโชคดีของเจ้าหน้าที่ ไม่เช่นนั้นทหารหน่วยปราบจลาจล จะต้องได้รับบาดเจ็บ และทำงานยาก มากมายกว่านี้แน่นอน
Case Study
Protesters throw a Molotov cocktail at troops during protests in Caracas on Wednesday. Venezuelan National Guard troops fired tear gas and shot gun pellets to keep apart militant supporters of President Hugo Chavez and opposition marchers who were protesting against the government's military takeover of the city police force. — Reuters
บน - ผู้ประท้วงใช้ระเบิดเพลิง (Molotov cocktail) ในการประท้วงที่เวเนซูเอล่า
ล่าง - Not an IED damage but the work from a Molotov cocktail - ความเสียหายที่เกิดจาก Molotov cocktail (credit)
การปราบจลาจลในต่างประเทศก็มีการติดอาวุธ จะสังเกตุเห็นปืนพกที่เอวของเจ้าหน้าที่เพื่อการป้องกันตัว แต่น้อยนักที่ผู้ก่อการจราจลจะมีอาวุธปืน เพราะเป้าหมายคือการ "ทำลาย" มากกว่าการสังหาร ในประเทศทั่วไป การปราบจราจลเป็นหน้าที่ของตำรวจ แต่ในเมื่อตำรวจไทยไม่ยอมทำงาน จึงต้องตกเป็นภาระของทหาร (ที่เป็นเหมือนที่พึ่งแห่งสุดท้ายของประชาชนเสมอๆ) ทำให้ภาพการปราบจราจลในสายตาสื่อต่างชาติเป็นการใช้ความรุนแรง เกินกว่าที่ควรจะเป็น